วันศุกร์, มีนาคม 21, 2025

เก้าอี้ทำงาน ราคาถูก – เพราะชั่วโมง การทำงาน ในแต่ละวัน ยาวนานถึง 8 ชั่วโมงหรือ มากกว่านั้น ดังนั้นการ เลือกเก้าอี้ จึงมีส่วนสำคัญมาก รวมถึงการหาอุปกรณ์ เสริมต่าง ๆ เข้ามาช่วยเพื่อ ให้การนั่งทำงาน ถูกสรีระย่อมช่วย ให้ห่างไกลจาก อาการปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อ และปัญหาเกี่ยวกับกระดูกต่าง ๆ

เทคนิคง่าย ๆ เลือก เก้าอี้ทำงาน ราคาถูก

การเลือกเก้าอี้นั่ง ทำงานแบบง่าย ๆ ที่ช่วยดูแล สุขภาพได้ดังนี้

1. ดูความสูงเก้าอี้ ต้องเท่ากับช่วง ยาวขาท่อนล่าง บริเวณน่อง ตั้งแต่ข้อพับ หลังเข่า ไปถึงเท้า วางเท้า แล้วราบกับ พื้นพอดี

2. เบาะต้องไม่นุ่มหรือเป็นแอ่ง เพราะส่งผลให้กระดูกเชิง กรานบิดงอได้

3. ความลึกของเบาะต้องไม่มากกว่าช่วงต้นขา เพื่อให้นั่งทำงานได้สบาย

4. พนักพิงต้องพอดีกับแผ่นหลัง นั่งให้ก้น ชิดกับพนัก เพราะการพิงไม่ถึงและเอนตัว ไปด้านหลังจะ ทำให้หลังงอ

5. ที่เท้าแขนอยู่ในระดับพอดี คืองอข้อศอก แล้ววางแขน ได้พอดี เพื่อใช้ดันให้ตัว ยึดตรงและค้ำพยุง ตัวเวลาลุกนั่งได้

6. ปรับระดับได้ ทั้งความสูง-ต่ำของเบาะ การเอน ไปด้านหลัง ความสูงต่ำ ของที่พักแขน เอียงเข้าหรือออก

หมอนเสริมตัวช่วยคนทำงาน

หลายคนอาจ ไม่สามารถเลือก เก้าอี้นั่งทำงาน ได้หรือเลือกแล้ว ไม่พอดีกับ สรีระ หมอนเสริม สามารถช่วย ได้ใน กรณีต่าง ๆ ได้แก่

– เก้าอี้ปรับไม่ได้ หากเบาะลึกเกิน ไปให้ใช้หมอน หนุนเพิ่มที่ ด้านหลัง กันและหลัง

– พนักพิงไม่พอดีกับสรีระ สามารถใช้ หมอนหนุนเพื่อ รองรับความหนาตาม ที่ต้องการ

ที่วางพักเท้าช่วยรับน้ำหนัก

ในกรณีที่ต้องปรับ เก้าอี้ทำงาน ให้สูงพอเหมาะ กับโต๊ะอาจส่งผล ให้เท้าลอย จากพื้น ควรมีที่พักเท้า เพื่อรองใต้เท้า ไม่ให้เท้าลอย เหมือนนั่งห้อยขา โดยที่วางพักเท้าช่วยรับ น้ำหนักไว้ เพื่อให้ช่วงเข่า และเท้าผ่อนคลาย ไม่ปวดเมื่อย จากการรับ น้ำหนักขา

 เคล็ดลับ ท่านั่งเก้าอี้ที่ดีคือ หลังพิงพนัก วางสะโพก และต้นขาบนที่ นั่งทั้งหมด ฝ่าเท้าวางราบบน พื้นมีที่พัก แขนรองรับ แขนทั้งสองข้าง และไม่ควรเอนพนักพิงเกิน 100 องศา

ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) คือ กลุ่มอาการ ปวดกล้ามเนื้อ และเยื่อพังผืด (Myofascial Pain Syndrome) เนื่องมาจากรูปแบบการทำงานที่ใช้กล้ามเนื้อมัดเดิมซ้ำ ๆ เป็นระยะเวลา นานต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้เกิด อาการกล้ามเนื้อ อักเสบและปวดเมื่อย ตามอวัยวะต่าง ๆ โดยเฉพาะ บริเวณ คอ หลัง ไหล่ บ่า แขน หรือข้อมือ ซึ่งอาการ ปวดดังกล่าวอาจ ลุกลามจนกลาย เป็นอาการปวดเรื้อรัง

 

ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) โรคยอดฮิตคนทำงานออฟฟิศ

       ออฟฟิศซินโดรม มักพบได้ บ่อยในคน ทำงานออฟฟิศ  เนื่องจากพฤติกรรม ของคนทำงาน ส่วนใหญ่ ที่ต้องนั่ง ทำงานอยู่ หน้าจอ คอมพิวเตอร์ อยู่เป็นเวลานาน โดยไม่ได้ ขยับตัวเปลี่ยน อิริยาบถ ทำให้กล้ามเนื้อ เกิดอาการตึง และกล้ามเนื้อ อักเสบได้ จึงเป็นสาเหตุหลัก และปัจจัย สำคัญให้ เกิดอาการ ออฟฟิศซินโดรม

  • ปวดกล้ามเนื้อ เฉพาะส่วนใด ส่วนหนึ่ง มักมีอาการปวดแบบว้าง ๆ ไม่สามารถชี้จุด หรือระบุตำแหน่ง ที่ปวดได้อย่าง ชัดเจน เช่น คอ บ่า ไหล่ สะบัก
  • ปวดศีรษะเรื้อรัง หรือในบางครั้ง มีอาการปวดหัวไมเกรน ร่วมด้วย ซึ่งมีสาเหตุ มาจากความเครียด หรือการที่ใช้สายตา เป็นระยะเวลานาน
  • ปวดหลังเรื้อรัง เป็นอาการ ที่พบบ่อย ในผู้ป่วยโรคออฟฟิศ ซินโดรม เนื่องจากการนั่ง อยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ หลายชั่วโมง นั่งไม่ถูกท่า นั่งหลังค้อม อาจทำให้กล้ามเนื้อต้นคอ เมื่อย เกร็งอยู่ตลอด รวมถึงงาน ที่ต้องยืนนาน ๆ โดยเฉพาะคุณ ผู้หญิงที่ใส่ส้นสูง
  • ปวดตึงที่ขา หรือเหน็บชา อาการชาเกิดจาก การนั่งนาน ๆ ทำให้เส้นเลือดดำ ถูกกดทับและ ส่งผลให้เลือดไหล เวียนผิดปกติ
  • ปวดตา ตาพร่า เนื่องจากต้องมีการ มองหน้าจอ คอมพิวเตอร์นาน ๆ หรือใช้สายตา อย่างหนักเป็น เวลานาน
  • มือชา นิ้วล็อค ปวดข้อมือ เพราะการใช้ คอมพิวเตอร์ จับเมาส์ในท่าเดิม ๆ นาน ทำให้กล้ามเนื้อ กดทับเส้นประสาท และเส้นเอ็น จนอักเสบ เกิดพังผืดทำให้ปวดปลาย ประสาท นิ้วหรือข้อมือล็อคได้

การรักษาออฟฟิศซินโดรม

          การรักษาโรค ออฟฟิศซินโดรม มีด้วยกัน หลายวิธี ไม่ว่าจะเป็น การรักษาด้วยยา การปรับสภาพแวดล้อม ในการทำงาน การทำกาย ภาพบำบัด การออกกำลังกาย เพื่อรักษา อาการปวด การรักษา ด้วยวิธีทางเลือกอื่น ๆ เช่น การฝังเข็ม การนวดแผนไทย เป็นต้น อย่างไรก็ตาม  ผู้ที่มีอาการออฟฟิศ ซินโดรมควรมาปรึกษาพบ แพทย์เพื่อ ตรวจวินิจฉัย หาสาเหตุของ อาการ ว่าเกิดจาก สาเหตุใด มีภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ หรือไม่ เพื่อให้แพทย์ ได้รักษาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับอาการ ของแต่ละบุคคล

 

กลับสู่หน้าหลัก – aseancoffee